บทความ

ยกช่อฟ้าอุโบสถวัดอินทาราม 2560

รูปภาพ

Katinclip5

รูปภาพ

Katinclip4

รูปภาพ

จำแนกปรมัตถธรรม ๔

รูปภาพ
การจำแนกปรมัตถธรรม ๔ โดยเป็น ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ ดังนี้ : ขันธ์ ๕   (แปลว่า เป็นกลุ่ม เป็นกอง) รูป ๒๘                    เป็น    รูปขันธ์ เวทนาเจตสิก         เป็น    เวทนาขันธ์ สัญญาเจตสิก       เป็น    สัญญาขันธ์ เจตสิกที่เหลือ ๓๖ เป็น    สังขารขันธ์ จิต ๘๙                   เป็น    วิญญาณขันธ์ นิพพาน                  เป็น    ขันธวิมุต --------------------------------------- อายตะ ๑๒  (ทรงไว้ซึ่ง สภาวะของตน หรือทรงไว้ซึ่งสภาวะของตนๆ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง) จักขุปสาท            เป็น  จักขายตนะ โสตปสาท            เป็น  โสตายตนะ ฆานปสาท            เป็น ฆานายตนะ ชิวหาปสาท          เป็น ชิวหายตนะ กายปสาท             เป็น กายายตนะ รูปารมณ์               เป็น รูปายตนะ สัททารมณ์            เป็น สัททายตนะ คันธารมณ์             เป็น คันธายตนะ รสารมณ์                เป็น รสายตนะ ปถวี-เตโช วาโย โผฏฐัพพารมณ์ เป็น โผฏฐัพพายตนะ จิต ๘๙                 เป็น มนายตนะ เจตสิก ๕๒ สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน เป็น ธัมมายตนะ ---------------------------------------------------- ธาตุ ๑๘ (ท

มาติกาโชติกะ ธัมมสังคณีสรูปปัตถนิสสยะ

ตำราเรียนชั้น จุฬอาภิธรรมิกะเอก   มาติกาโชติกะ ธัมมสังคณีสรูปปัตถนิสสยะ หมายความว่า "มาติกาโชติก ธมฺมสงฺคณีสรูปตฺถนิสสย"  แยกศัพท์ ดังนี้ มาติกา = แม่บท, อุทเทส กระทู้ โชติก = ทำให้สว่าง ธมฺม = สภาวธรรม สงฺคณี = รวบรวม,การสวดหรือ ร้อยกรอง สรูป = สรุปย่อ อตฺถ = เนื้อความ ได้แก่ สภาวะ นิสฺสย = เป็นที่อาศัยและบรรจุ เมื่อรวมความแล้ว คำว่า "มาติกาโชติก ธมฺมสงฺคณีสรูปนิสฺสย" แปลว่า คัมภีร์ที่ทำแม่บทให้สว่าง และเป็นที่อาศัยบรรจุ เนื้อความ คือสภาวธรรมโดยย่อ จากคัมภีร์ธัมมสังคณี หมายเหตุ คัมภีร์ธัมมสังคณีเป็นคัมภีร์ที่รวบรวมสภาวะธรรม ----------------------------------------------------------------------- ประเภทแห่งมาติกามี ๒ อย่างคือ (มาติกา =หัวข้อ แม่บท) ๑. ติกมาติกา : เป็นมาติกาที่จำแนกปรมัตถธรรม ๔ โดยแบ่งเป็น ๓ บท (๑ ติกะ แบ่งออกเป็น ๓ บท) เนื้อหามีจำนวน ๒๒ ติก คือ กุศลติกะ เป็นต้นจนถึง สนิทัสสนติก เป็นที่สุด  ( ฉะนั้น 22x3 = 66 บท) ๒. ทุกมาติกา เป็นมาติกาที่จำแนกปรมัตถธรรมทั้ง ๔ โดยแบ่งออกเป็น ๒ บท มี ๒ อย่างคือ:-      ๒.๑ อภิธรรมทุกมาติก มี 100 ทุกะ คือตั้งแต่ เหตุทุ